The 10 Talents of Successful Entrepreneurs

The talents of successful entrepreneurs are a diverse mix, but some key ones tend to stand out. Here are 10 of the most important:

Business Focus

Confidence

Creative Thinker

Delegator

Determination

Independent

Knowledge Seeker

Promoter

Relationship Builder

Risk Taker

Key Traits

Profit Oriented

Establish clear goals and measure progress.

Judge the value of opportunity, relationship, or a decision by its effect on business.

Invest time in planning a growth strategy.

Align employee responsibility with company goals.

Caution

Maximize profit can lose sight of customers.

Focus on increasing customer satisfaction along with maximize revenues.

Maximizing

Use specific timelines and yardsticks to measure business goals.

Manage your time carefully.

Write down your vision for short term and long term, and refer it often.

Communicate your goals consistently with your employees and clients.

Don’t lose sight of the human element in business.

Learn everything you can about all aspects of your business. 

Key Traits

Know yourself and present yourself effectively with confidence.

Clearly understand and can influence others.

Action-Oriented and take initiative.

Conviction in your ability to be a successful entrepreneur.

Caution

Overconfidence can be harmful to an enterprise’s health.

Not considering all the relevant factors before making decision.

Overestimating your ability to get results with minimal resources.

Overcommit resources without accessing the competition and market readiness.

Pay close attention to customer need technology to bring product to the new market.

Maximizing

Plan ahead to boost your confidence.

Do your homework to make your product ready for the market.

Avoid speed trap to make decision under pressure.

Discuss opportunities with your network.

Avoid in-group thinking seek feedback from diverse stakeholders.

Key Traits

Imagine beyond the boundaries of what exist now.

Explore options and can think your way through problems.

Constant dream up new products or service to customer.

Have a mind that is typically firing with many different ideas.

Curious and quick learner.

Caution

Make sure to communicate your ideas with your team.

Pay attention to changing customer need or shifting business environment.

Not to rush to launch new initiatives.

Don’t lose sight of your core business.

Maximizing

Balance current and future customer needs.

Use measurement to evaluate your ideas.

Releasing your new products or service incrementally.

Maintain a simple organizational structure.

Balance efficiency with creativity.

Mobilize resources to fuel the innovation.Learn from your failures.

Key Traits

Delegate authority and responsibility.

Proactively collaborate with others.

Recognize and draw on people’s special abilities.

Ensure that team members become effective contributors.

Caution

Do not abdicate your overall responsibility for a project.

Set a milestone to monitor progress and feedback.

Maximizing

Identify what to delegate. Critical for business or someone do it better?

Identify whom to delegate. Talents and Skills.

Take time to set things up for success.

Allow employee to perform.

Give feedback.

Access the human resources you need for delegation.

Key Traits

Have a tremendous work ethic.

Confront obstacles directly and overcome them.

You are persistent and undeterred by failures and roadblocks.

Eager to make decision and quick to act.

Caution

Discontent disappointment and regret when faced with failing.

Having to make unpleasant decisions.

You might not attain all commitment.

Maximizing

Share your optimist outlook to your partners.

Energize your determination by partnering with creative individuals.

Always keep the big pictures of your business in mind.

Monitors your progress toward predefined goals.

Be attentive to the constantly shifting business landscape.

Don’t focus on the cause of setbacks. Move forward.

Keep things in perspective.

Reflect on your success and failures.

Key Traits

Depend on yourself to get the job done.

Have strong sense of responsibility.

Handle multiple tasks successfully.

High level of competence in every aspect of managing a business.

Caution

Independence is critical in the startup phase. Not for growth.

Long working hour days with multiple tasks could lead to burnout.

Impossible to do everything yourself. Transfer responsibilities to your staff.

Maximizing

Plan for the long term.

Don’t lose sight of your main objective.

Be prepared to “Pivot” quickly.

Form strategic alliances and diverse network.

Develop a product that aligns with your customer needs.

Hire staff members who can meet the needs of your growing business.

Key Traits

Acquire in depth information about every aspect of your business.

Use knowledge as competitive advantage.

Preoccupation with your business that borders on obsession.

Anticipate knowledge needs and use knowledge well.

Caution

Too many new ideas sometimes too quickly confusing your employees and customers.

Avoid the lure of implementing every idea. 

Select ideas that streamline your business and add value to your customer.

Maximizing

Find your voracious desire to know everything related to your business.

Set aside plenty of time for thinking and learning.

Sort through your insights before initiating action.

Get an outsider’s point of view.

Give your employees clear direction.

Key Traits

Speak boldly on behalf of your company.

Make your case effectively and influence people.

Communicate your vision of your company to employees and customers.

Have a clear growth strategy.

Caution

Closeness to your idea or product may blind you to its flaws.

Be objective about the product or service you promote.

Creating a single dominant persona may be counterproductive for business.

Maximizing

Build a great product or service.

Position yourself as an expert on company product and service.

Rehearse your story. Practice your story telling technique.

Use multiple media to reach the widest audience possible.

Build and support a community for your product and services.

Key Traits

Have high social awareness.

Attract and maintain a constituency.

Build mutually beneficial relationships.

Use your relationship talents to access internal and external resources.

Forge relationship with employees and customers that go beyond work.

Have an open demeanor, positive attitude, and personal integrity that help build trust.

Caution

Be selective about the associations you form.

Overinvestment in your network may take time away from focusing on your business.

Sometimes strong networks can shutdown new people and new thinking.

Maximizing

Diversify your network. Go beyond those you know well.

Reciprocity is vital to maintaining strong relationship.

Be selective in whom you invest the most time.

Pay attention to the existing bonds, loyalties and network community which you work and live.

Use your time, brand, and resources to address social issues.

Renew and reshape your networks frequently.

Key Traits

Have a strong personality, charisma, and confidence.

Enthusiastic when taking the challenges.

Have a highly optimistic perception of risk.

Make decision easily in complex situations.

Take a rational approach to decision making.

Caution

Overestimate ability to manage risk.

Underestimate the uncertainties in the external business environment.

Evaluate an opportunity rationally before taking action.

Get feedback from your people.

Take time deciding which projects build on your core business.

Maximizing

Know what you do know and what you do not know.

Take risk incrementally.

Beware of confirmation bias. Ask people with opposing views.

Construct different scenarios to guide your decision-making process.

Don’t gamble. Take careful calculated risk.

Kill unimportant projects.

While not everyone possesses all these talents, many successful entrepreneurs cultivate them through experience, practice, and a willingness to learn. Remember, entrepreneurship is a journey, and developing these talents is an ongoing process.

วิธีการสื่อสารสำหรับผู้จัดการ

ใช้แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดในการสื่อสารประจำวัน

ใช้เทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสม

ในการแสดงออกอย่างมีประสิทธิภาพ ไมจำเป็นต้องหลีกเลี่ยงการแสดงความรู้สึกส่วนตัว ความรู้สึกแม้จะเป็นเชิงลบก็ถือว่ายอมรับได้ เนื่องจากความรู้สึกจะบอกเราว่าคุณกำลังเผชิญกับอะไร (เช่น ท้อแท้ ไว้วางใจ หงุดหงิด โกรธ กระวนกระวาย พึงพอใจ กระตือรือร้น ฯลฯ)

ผู้จัดการที่ดีปฏิเสธคำขอของทีมได้ในบางครั้ง การตอบรับทุกอย่างจะทำให้ความสำคัญของคุณด้อยลงไป ผู้จัดการที่ดีต้องสามารถปฏิเสธคำขอได้เป็นครั้งคราวโดยไม่สร้างความตึงเครียดและในขณะเดียวกันก็รักษาคุณภาพความสัมพันธ์ไว้

เมื่อคุณถูกวิพากษ์วิจารณ์ในเชิงลบ ใช้วิธีแยกแยะ บอกว่า “นี่คือข้อเท็จจริง” เมื่ออีกฝ่ายพูดข้อเท็จจริง หรือ “นี่คือความเห็นของคุณ” หากเป็นการตัดสิน วิธีนี้พัฒนาขึ้นโดยนักจิตวิทยา Manuel Smith

ในการแสดงออกอย่างมีประสิทธิภาพ คุณสามารถเลือกใช้ข้อเท็จจริง อธิบายกระบวนการทำงานในอนาคต หรือแสดงความรู้สึกส่วนตัว ในทางตรงกันข้าม คุณควรหลีกเลี่ยงการแสดงความคิดเห็นหรือตัดสินอะไร

รูปแบบการแสดงออกที่มีประสิทธิภาพน้อยกว่าคือ เวอร์ชันที่ “ด้อยลง” ของรูปแบบการแสดงออกที่มีประสิทธิภาพ ตัวอย่างเช่น ความประสงค์คือฝันหวานเกี่ยวกับความจริง ความเห็นมักเกี่ยวข้องกับความรู้สึกที่ไม่สามารถแสดงออกมาได้ และความปรารถนาคือความมุ่งมั่นที่อ่อนกำลัง

คำถามโดยทั่วไปของการฟังเชิงรุกคือ คำถามปลายเปิด เชื่อมโยงกับสิ่งที่อีกฝ่ายเพิ่งพูดมา และสอบถามไม่เพียงข้อเท็จจริงเท่านั้นแต่รวมถึงความรู้สึกที่ได้รับด้วย คำถามปลายปิดเป็นประโยชน์ในการหาข้อมูลที่เฉพาะเจาะจง แต่อาจจบการสนทนาได้

เมื่อขอให้ทุกคนแสดงความคิดเห็น คุณก็แสดงให้เห็นว่าความคิดเห็นของแต่ละคนมีคุณค่า แม้ว่าจะไม่ได้เข้าใจกันทุกคน นี่เป็นวิธีหนึ่งที่ทำให้การอภิปรายสร้างสรรค์

ในการสนับสนุนให้ทุกคนพูด สิ่งสำคัญคือต้องกำหนดพื้นที่การอภิปรายที่ทุกคนรู้สึกเป็นอิสระและพูดได้โดยไม่ต้องกังวลว่าจะถูกตัดสินหรือถามคำถามที่ไม่เข้าท่า ตั้งกฎเพื่อการประพฤติที่ดี (เช่น อย่าขัดจังหวะ ติชมอย่างสร้างสรรค์แทนที่จะวิพากษ์วิจารณ์ในเชิงลบ ฯลฯ) และเตือนให้พวกเขารักษากฎถ้าจำเป็น

เมื่อแสดงความคิดเห็นอย่างระมัดระวัง คุณเปิดให้อภิปรายในขณะที่บอกเล่ามุมมองของตนเอง นี่ยังเป็นวิธีที่จะสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่นเพื่อให้ประเด็นที่อภิปรายก้าวหน้าไป หากมีปัญหาระหว่างบุคคล อาจเป็นเรื่องดีที่จะถามผู้อื่นว่าเขาเข้าใจเราอย่างไร ซึ่งจะช่วยแก้ไขปัญหาการสื่อสารได้

ควรให้ความสำคัญสูงสุดกับการแสดงออกสี่แบบ: แสดงความคิดเห็นอย่างระมัดระวัง ถามความคิดเห็นของผู้อื่น เรียบเรียงความคิดของผู้อื่นอีกครั้งอย่างสร้างสรรค์ และสุดท้ายสรุปจากมุมมองต่างๆ ของผู้พูดหลายๆ คน

เสนอแนะให้ผู้เข้าร่วมอภิปรายใช้วลี “ใช่ และ… Yes and” แทนที่จะเป็น “ใช่ แต่…Yes but” เพื่อส่งเสริมให้พวกเขาแสดงความเห็นที่สอดคล้องกับความเห็นของผู้อื่น

คุณควรแสดงความคิดเห็นอย่างระมัดระวัง การทำเช่นนี้แสดงให้เห็นว่าคุณไม่ได้รู้ทุกอย่างเกี่ยวกับประเด็นนี้ เพื่อให้สื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม ถามตัวเองว่าพวกเขาแตกต่างจากคุณอย่างไร: พวกเขามีบุคลิกเปิดเผยหรือเก็บตัว ใจร้อนหรือเชื่องช้า ใช้เหตุผลหรือใช้อารมณ์ เน้นจินตนาการหรือเน้นลงมือปฏิบัติ ยืดหยุ่นหรือเป็นระบบ

เมื่อติชมอย่างสร้างสรรค์ คุณควรยึดพูดเกี่ยวกับความรู้สึกเมื่อให้รายการผลกระทบเชิงลบที่สังเกตเห็น อาจเป็นเหตุการณ์จริงหรือความรู้สึก (เช่น ความท้อแท้ ความวิตกกังวล ความกระตือรือร้น ฯลฯ) การตำหนิเพียงอย่างเดียวคือการวิพากษ์วิจารณ์พฤติกรรมโดยไม่เสนอวิธีแก้ไข ซึ่งมักจะทำให้ความสัมพันธ์สิ้นสุดลง

คุณจะชมเชยพนักงานอย่างไร เริ่มโดยอธิบายพฤติกรรมและสิ่งที่พวกเขาได้ทำ จากนั้นเน้นที่ผลกระทบเชิงบวก สุดท้าย แสดงความพึงพอใจของคุณ

เมื่อติชมอย่างสร้างสรรค์ คุณควรอธิบายพฤติกรรมที่เป็นปัญหาซึ่งคุณสังเกตเห็น ให้ถูกต้องแม่นยำที่สุดเท่าที่จะทำได้ขณะที่พูดโดยใช้บุรุษที่หนึ่ง เพื่อเราจะเป็นผู้รับผิดชอบต่อที่สิ่งที่พูด ระมัดระวังอย่าพูดว่าอีกฝ่ายตั้งใจทำอะไร การพูดว่า “ฉันเสียใจเพราะสิ่งที่คุณพูด” กับการพูดว่า “คุณพยายามทำให้ฉันเสียใจ” นั้นแตกต่างกันมาก

หากคุณต้องการวิพากษ์วิจารณ์ ให้ทำเป็นการส่วนตัว ให้โอกาสอีกฝ่ายอภิปรายและพยายามอย่าอารมณ์เสีย

หน้าต่าง Johari ซึ่งสร้างขึ้นโดย Joseph Luft และ Harrington Ingham ในปี 1955 เป็นเมทริกซ์ที่ใช้ในการสื่อสาร โดยแบ่งออกเป็นสี่ส่วน: บริเวณเปิดเผย (ตนเองรู้และผู้อื่นรู้), บริเวณจุดบอด (รู้เฉพาะผู้อื่น), บริเวณซ่อนเร้น (รู้เฉพาะตนเอง) และบริเวณอวิชา (ตนเองไม่รู้และผู้อื่นไม่รู้)

พนักงานของคุณพยายามเรียกร้องความสนใจไม่ว่าจะทำอะไรและต่อต้านอยู่เสมอ บางคนมีกลยุทธ์ที่จะเรียกร้องการมีตัวตนจากผู้คนรอบข้างโดยไม่รู้ตัว พวกเขาอาจพยายามโดดเด่นไม่ว่าจะทำอะไร ประพฤติตนในเชิงต่อต้านอยู่เสมอ ฯลฯ จิตแพทย์ Eric Berne ผู้ก่อตั้งการวิเคราะห์การสื่อสารสัมพันธ์ระหว่างบุคคลได้ศึกษาอย่างลึกซึ้งถึงสัญญาณของการรับรู้ตัวตน

Éditions Eyrolles

การบริหารการจัดส่งอย่างมีประสิทธิภาพ

หน้าที่และความรับผิดชอบ
วางแผนส่งมอบให้ได้ตามกำหนด ตามเป้าหมาย
ควบคุมค่าใช้จ่ายให้อยู่ในงบประมาณ
ปรับปรุงการจัดส่งให้ทันสมัยและดีกว่าคู่แข่ง

วงรอบการทำงานต้องเกี่ยวเนื่องกับส่วนงานใดบ้าง
Customer
Order Processing
Sales
Sales Suport
Forecasting
Planning
Purchasing
Production
Inventory
Distribution

รูปแบบการกระจายสินค้า
Centralization System
จัดส่งเอง
ใช้บริการขนส่ง
Decentralization System
Depot
Stock list
Concessionaire
Regional Distribution Center

เป้าหมายของการจัดส่ง
ส่งรวดเร็วตามกำหนด
ของอยู่ในสภาพดี
ตรงตามความต้องการของลูกค้า
บริการดี มารยาทดีกับลูกค้า
ค่าใช้จ่ายเหมาะสม

วิธีคัดเลือกบุคลากร
บุคลิกภาพ มนุษยสัมพันธ์
ร่างกายแข็งแรง
อดทนต่ออารมณ์ของลูกค้าได้
มีไหวพริบดี
ซื่อสัตย์
มีความรับผิดชอบ

การฝึกอบรม
เทคนิคในการติดต่อลูกค้า
ความรู้เรื่องสินค้า
การขับรถ
การดูแลรถ

ปัจจัยการคำนวณค่าขนส่ง
ระยะทาง
จำนวน SKU ของสินค้า
น้ำหนักสินค้า
ปริมาตรสินค้า
ราคาสินค้า
จำนวนจุดที่วิ่งไปในแต่ละเที่ยว
ช่วงเวลาปฏิบัติงาน
ราคาน้ำมัน
อายุของรถบรรทุก
เปรียบเทียบค่าขนส่งกับบริษัทขนส่ง

เอกสารประกอบการจัดส่ง
ใบสั่งซื้อ
ใบเสนอราคา
อินวอยซ์
แผนที่ลูกค้า

เทคนิคในการจัดส่งสินค้าให้ทันตามกำหนด
ตรวจสอบเอกสาร
การจัดสินค้า
รอรถเพื่อขึ้นของ
การขึ้นของ
ระหว่างเส้นทางส่งของ
การรับของ

KPI ของการจัดส่ง
จำนวนอินวอยซ์ที่ต้องส่งของในแต่ละวัน
ระยะเวลาในการจัดสินค้า
ส่งตามเวลาที่ลูกค้ากำหนด
จำนวนลูกค้าที่จัดส่ง
จำนวนรายการในใบส่งสินค้า
จำนวนสินค้าที่ส่งในเขต นอกเขต
จำนวนการรับคืนสินค้า

แนวทางการประหยัดค่าใช้จ่าย
จัดส่งตามเส้นทาง ไม่ทับซ้อน
Full container load
Load ของรวดเร็ว เป็นระเบียบ
การ Packing อย่างชำนาญ
Recycle Packing Material
เลือกรถให้เหมาะสม
ใช้อุปกรณ์ช่วยอำนวยความสะดวก

แบบฟอร์มและรายงาน
แบบฟอร์มรายการตรวจสอบสภาพรถก่อนใช้ทุกวัน
รายงานการทำงานประจำวัน จำนวนงาน จำนวนเงิน เวลาเข้า ออก
รายการส่งของที่มีปัญหา
ระยะเวลาส่งของของแต่ละอินวอยซ์
ค่าใช้จ่ายเปรียบเทียบกับยอดขาย
ตรวจสอบเทียบกับงบประมาณ

ข้อร้องเรียนจากลูกค้าและฝ่ายขาย
จัดส่งล่าช้า
ส่งของไม่ครบจำนวน ขาด หาย
จัดส่งไม่ถูกต้อง สลับร้านค้ากัน
สินค้าเสียหาย
ส่งของไม่ตรงออเดอร์
ไม่ได้รับของ สินค้าสูญหาย
ลูกค้าปฏิเสธลายเซ็นต์รับของ

ข้อร้องเรียนจากฝ่ายบัญชี
บิลหาย ส่งคืนไม่ครบ
ใบเซ็นรับส่งคืนไม่ครบ
ส่งเงินคืนไม่ครบ
สินค้าหาย
ของคืนกลับไม่ครบ

การดำเนินการเมื่อมีข้อร้องเรียน
ใครรับผิดชอบ
การแก้ไข
รับฟังปัญหาอย่างใจเย็น
สอบสวน
พิสูจน์
ชี้แจง
ชดใช้
เรียกร้องค่าเสียหายต่อจาก Supplier บริษัทขนส่ง หรือผู้เกี่ยวข้อง
หาทางป้องกัน

การตรวจเช็คของ
ก่อนรับมอบ
ก่อนส่งมอบให้ลูกค้า

อาจารย์เพ็ญแข ลิ่มสุวรรณโรจน์

ลูกค้าสัมพันธ์ในร้านค้า

ประสิทธิภาพของร้านค้าขึ้นอยู่กับคุณภาพความสัมพันธ์ของคุณกับลูกค้าเป็นส่วนใหญ่

เทคนิค +1 แต้ม

เป้าหมายเล็กๆเพื่อผลลัพธ์โดยรวมที่มากขึ้นได้แก่
เพิ่มเปอร์เซ็นต์คนที่เดินผ่านให้เข้าร้านมากขึ้น 1%
คนที่เข้ามาในร้านเปลี่ยนเป็นลูกค้ามากขึ้น 1%
ลูกค้าแต่ละคนซื้อของมากขึ้น 1%
เน้นที่ความสัมพันธ์ที่ได้สร้างและรักษาไว้กับลูกค้า
มีความเชื่อมโยงที่เป็นธรรมชาติกับลูกค้า
ต้องแสดงความเอาใจใส่ ทักทายคนที่เข้าร้านทุกคน
ใส่ใจคำขอของลูกค้า รับรู้ความคาดหวัง ประโยชน์ที่ลูกค้าต้องการ
และตอบข้อสงสัยในการซื้อของลูกค้าอย่างเหมาะสม

เราสามารถแยกพฤติกรรมที่ช่วยสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าในร้านได้ดังนี้

ต้อนรับลูกค้า
ให้บริการการขาย
นำไปยังจุดชำระเงินและขอบคุณลูกค้า

ควรเข้าหาลูกค้าในร้านอย่างไร

ให้ผู้เยี่ยมชมได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่น
อะไรคือการต้อนรับที่สร้างความสัมพันธ์ที่ดี
อยู่หน้าร้าน
อยู่ในพื้นที่ต้อนรับ
เปิดกว้างและพร้อมให้บริการ แม้จะให้บริการลูกค้ารายอื่นอยู่ก้อตาม
ต้อนรับคนที่เข้ามาในร้านด้วยความยินดี พร้อมรอยยิ้มและคำทักทาย
แสดงความใส่ใจ
ท่าทีผ่อนคลาย ลูกค้าจะไม่รู้สึกกดดันจนรีบออกจากร้าน

คำถามแรกควรเป็นเชิงบวกและดูกระตือรือล้น เช่น

กรณีที่ 1 ลูกค้าสนใจสินค้าตัวใดเป็นพิเศษ
คุณอาจบอกว่าเป็นตัวเลือกที่ดีมากเลย นี่เป็นผลิตภัณฑ์ที่ยอดเยื่ยม
ดูเหมือนคุณกำลังตามใจตนเอง หรือเลือกให้คนพิเศษซักคนแน่ๆ

กรณีที่ 2 ลูกค้ากำลังมองหาอะไรเป็นพิเศษ
คุณอาจถามว่า ดูเหมือนว่าคุณกำลังมองหาไอเดีย หรือแรงบันดาลใจอะไรเป็นพิเศษหรือเปล่า
ผมขอแนะนำสินค้าตัวนี้ให้นะครับ

กรณีที่ 3 ลูกค้าที่ดูเหมือนไม่มีไอเดีย หรือหาอะไรเฉพาะเจาะจง
คุณอาจถามว่า วันนี้มาเดินดูอะไรเล่นหรือครับ วันนี้คุณอยากได้อะไรไหม

ทำความเข้าใจและแนะนำลูกค้า

วิเคราะห์และสนองความต้องการของลูกค้า
พยายามทำความเข้าใจลูกค้ามากกว่าที่จะพยายามขาย
สร้างความสัมพันธ์และให้อิสระแก่ลูกค้า
สิ่งที่ต้องทำคือฟังลูกค้า
ใช้ภาษากาย มองตรงไปที่ลูกค้าอย่างเป็นมิตร รอยยิ้ม ใบหน้าเปิดรับ
ท่าทางกระฉับกระเฉงและผ่อนคลาย ลำตัวนิ่ง เปิดกว้าง หันไปทางคู่สนทนา
แสดงให้เห็นว่าใส่ใจในสิ่งที่ลูกค้าพูด
ใช้คำถามควบคุม เช่นคุณคิดว่ายังไงครับ เหมาะกับคุณหรือตรงกับที่ต้องการไหม
ให้ลูกค้าได้แสดงความคิดเห็น ก่อนที่จะถามคำถามถัดไป
ใช้คำถามทางเลือก เช่นถามลูกค้าว่าถนัดหรือชอบแบบไหนมากกว่ากัน
ช่วยชี้นำคำตอบให้ลูกค้า
หยุดเงียบให้ลูกค้าได้กลั่นกรองความคิดเห็นออกมา ทำให้การพูดคุยมีจังหวะที่ดี
เรียบเรียงคำพูดใหม่ เช่นถ้าผมเข้าใจถูกต้อง คุณชอบสิ่งนี้มากกว่าสิ่งนี้
ทำให้ลูกค้าเห็นว่าคุณรับฟังและเข้าใจสิ่งที่ลูกค้าพูดอย่างถูกต้อง
สอบถามประโยชน์ที่ลูกค้าต้องการ สอบถามว่าลูกค้าจะเอาสินค้าไปทำอะไร

การปิดการขายและการสร้างโอกาสในการขายใหม่

ความสัมพันธ์ที่ดีเริ่มตั้งแต่แรกจนถึงคำพูดสุดท้ายก่อนที่ลูกค้าจะออกไปจากร้าน
เมื่อส่งต่อลูกค้าไปยังจุดชำระเงินแล้ว ให้นำเสนอสิทธิพิเศษอื่นๆ เช่นบัตรสมาชิก สะสมแต้ม
แสดงความยินดี หรือให้ความมั่นใจในสิ่งที่ลูกค้าเลือกซื้อ เดินอ้อมไปหลังเคาน์เตอร์
เพื่อส่งของใส่ถุงให้กับลูกค้า และกล่าวลาแบบเจาะจง
ขอบคุณที่ใช้บริการ โอกาสหน้าเชิญใหม่นะครับ
กลับมาเล่าให้ฟังบ้างนะครับ ว่าของขวัญชิ้นนี้ได้รับคำชมยังไงบ้าง เป็นต้น
ถ้ายังปิดการขายไม่ได้ ให้สร้างโอกาสสำหรับอนาคต โดยเชิญให้ลูกค้ากลับมาอีกครั้ง
เพื่อดูสินค้าคอลเลคชั่นใหม่ หรือสินค้ารุ่นใหม่ที่จะเข้ามา หรือเสนอการนัดพบแบบส่วนตัว
เพื่อทำความเข้าใจและแนะนำสินค้าที่เหมาะกับลูกค้าที่สุด
หรือกล่าวขอบคุณ โอกาสหน้าเชิญใหม่นะครับ เรียกหาผมได้ ผมชื่อ…
ยินดีช่วยคุณค้นหาของที่ต้องการได้เสมอครับ
ถ้าแนะนำแล้วลูกค้ายังไม่ซื้อ ให้ขอบคุณแล้วสอบถามว่าสินค้ายังไม่ตรงความต้องการหรือ
ให้แสดงความเอาใจใส่ลูกค้าจนกระทั่งลูกค้าออกจากร้าน

จัดการการขายด้วยความมั่นใจ

ดูแลลูกค้าอย่างไรให้ถูกต้องและเหมาะสมกับปริมาณลูกค้าของร้านค้า
ปรับแนวทางปฏิบัติทางธุรกิจให้เข้ากับปริมาณลูกค้า
การปรับและจัดระเบียบตนเองตามเป้าหมาย
เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ

André Tordjman

7 อุปนิสัย สร้างธุรกิจให้สำเร็จ

สร้างนิสัยทั้ง 7 นี้ เพื่อให้ธุรกิจของคุณสำเร็จได้ผลลัพธ์ที่ดีเกินคาด ไปได้ไกลกว่า เร็วกว่า และง่ายกว่าคู่แข่งของคุณ

วางแผน
อย่างแรกที่จำเป็นต้องมีคือ นิสัยในการวางแผน ยื่งคุณวางแผนล่วงหน้าไปได้ไกลลงรายละเอียดกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นแต่ละอย่างได้มากเท่าใด เมื่อคุณเอาไปใช้เริ่มธุรกิจก็จะง่ายและได้ผลลัพธ์ที่ดีอย่างรวดเร็วมากขึ้นเท่านั้น
คาถา 6P “Proper Prior Planning Prevents Poor Performance.”

เพื่อให้การวางแผนได้ดีขึ้นลองตอบคำถามเหล่านี้ดูก่อน
อะไรคือสินค้าหรือบริการที่แท้จริงของเรา
ลูกค้าที่แท้จริงของเราคือใคร
ทำไมลูกค้าถึงซื้อสินค้าหรือใช้บริการของเรา
อะไรคือคุณค่าที่ลูกค้าพิจารณา
อะไรที่ทำให้สินค้าหรือใช้บริการของเราเหนือกว่าคู่แข่ง
ทำไมลูกค้ามุ่งหวังถึงไม่ซื้อสินค้าหรือใช้บริการของเรา
ทำไมลูกค้ามุ่งหวังถึงไปซื้อสินค้าหรือใช้บริการของคู่แข่ง
อะไรที่ทำให้สินค้าหรือใช้บริการของเราเหนือกว่าคู่แข่ง
จะให้ลูกค้าเปลี่ยนมุมมองกลับมาซื้อสินค้าหรือใช้บริการของเราได้อย่างไร
อะไรที่สำคัญที่สุดเพียงอย่างเดียวที่ทำลูกค้าต้องซื้อของจากเรามากกว่าซื้อจากคู่แข่ง

หลังจากตอบคำถามเหล่านี้แล้ว ขั้นตอนต่อไปคือให้กำหนดเป้าหมายยอดขาย กำไร
จำนวนทีมงาน จำนวนเงินทุน การตลาด การโฆษณา ช่องทางจำหน่าย ทีมซัพพอร์ท ทีมบริการ
และเครื่องไม้เครื่องมือต่างๆทีจำเป็น เพื่อให้สามารถทำยอดขายได้ตามเป้าหมาย

วางผังองค์กรให้พร้อมก่อนเริ่มต้น
หลังจากได้แผนธุรกิจมาแล้ว ให้เตรียมเรื่องวางแผนจัดเตรียมกำลังคนและทรัพยากรที่จำเป็นให้พร้อมก่อนเริ่มธุรกิจ เหมือนการปรุงอาหารต้องจัดเตรียมวัตถุดิบให้พร้อมก่อนเริ่มทำ ถ้าขาดบางอย่างที่สำคัญไป อาจทำให้ล้มเหลวทั้งองค์กรก็เป็นได้

หาคนที่ใช่
นิสัยที่สามที่ต้องพัฒนาคือ จ้างคนที่ใช่มาช่วยคุณให้บรรลุเป้าหมาย
95% ของความสำเร็จขึ้นอยู่กับคนที่คุณนำมาร่วมทีมด้วย
บริษัทที่ดีที่สุดเกิดจากคุณภาพคนที่ดีที่สุด
บริษัทที่รองลงมาสุดเกิดจากคุณภาพคนที่รองลงมา
บริษัททั่วไปเกิดจากคุณภาพคนที่ทั่วๆไป ปานกลาง

มอบหมายงาน
ในตอนเริ่มต้นธุรกิจอาจจะมีงานหลายๆอย่างที่เราต้องลงมือทำด้วยตนเอง
เมื่อธุรกิจขยายขึ้น คงเป็นไปไม่ได้ที่คนๆเดียวจะทำได้หมดทุกอย่าง
ทั้งการลงมือทำและอำนาจตัดสืนใจในเรื่องนั้นๆ
จึงจำเป็นต้องมีการมอบหมายงานที่ถูกต้อง ให้ถูกคน ถูกวิธี
เจ้าของกิจการคงต้องระบุงานที่สำคัญที่สุด 2-3 อย่างที่จะทำให้ธุรกิจเติบโต
ส่วนงานที่เหลือต้องกระจายออกไปให้คนอื่นทำและตัดสินใจแทน
เป็นหนทางที่จะใช้ความสามารถของคุณในการโฟก้สงานที่จำเป็นในการขยายธุรกิจต่อไป

ตรวจสอบสิ่งที่คุณคาดหว้ง
คุณต้องจัดเตรียมระบบหรือเครื่องมือเพื่อตรวจสอบงานที่คุณได้มอบหมายไปแล้ว
ให้เสร็จตรงตามเวลาและได้คุณภาพงานตามที่คาดหวังไว้
คุณยังคงต้องรับผิดชอบต่อผลของงานที่คุณได้มอบหมายไปแล้ว
งานไหนสำคัญก็ควรมีการตรวจสอบเป็นระยะถึงความคืบหน้า
หรือทรัพยากรที่ต้องการกับคนที่คุณมอบหมายงานให้

วัดผลสิ่งที่ได้ทำ
เจ้าของธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ จำเป็นต้องตั้งวัดผลการดำเนินงาน
ตั้งมาตรฐานที่ชัดเจน จับต้องได้ วัดผลได้ ทั้งระยะเวลา และคุณภาพของงาน
ทั้งในส่วนเฉพาะบุคคล และภาพรวมขององค์กรที่มองเห็นร่วมกัน
ตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทุกคนอยู่นในเส้นทางที่จะไปถึงเป้าหมาย

สิ่อสารกับคนของคุณ
นอกเหนือจากผู้ถือหุ้น่ ธนาคารหรือสรรพากรที่ต้องการรู้งบงานเงินหรือผลการดำเนินงานของคุณ
พนักงานหรือทีมงานของคุณก็ต้องการทราบเหมือนกันว่าผลลัพธ์เป็นอย่างไรได้ตามเป้าหมายหรือไม่
จากผลการศึกษากับพนักงานหลายๆคนพบว่าสิ่งหนึ่งที่ทำให้พนักงานรู้สึกพอใจในการทำงานคือการที่ได้รับรู้ว่ากำลังมีอะไรที่เกิดขึ้นบ้าง ที่เกี่ยวข้องกับงานที่เขากำลังทำอยู่
การที่คุณสื่อสารได้อย่างทั่วถึงทุกคน ทั้งรายละเอืยด สถาณการณ์ของธุรกิจ
ทำให้พนักงานของคุณรู้สึกดี มีส่วนร่วม และผลลัพธ์โดนรวมก็จะดีขึ้น