การบริหารการจัดส่งอย่างมีประสิทธิภาพ

หน้าที่และความรับผิดชอบ
วางแผนส่งมอบให้ได้ตามกำหนด ตามเป้าหมาย
ควบคุมค่าใช้จ่ายให้อยู่ในงบประมาณ
ปรับปรุงการจัดส่งให้ทันสมัยและดีกว่าคู่แข่ง

วงรอบการทำงานต้องเกี่ยวเนื่องกับส่วนงานใดบ้าง
Customer
Order Processing
Sales
Sales Suport
Forecasting
Planning
Purchasing
Production
Inventory
Distribution

รูปแบบการกระจายสินค้า
Centralization System
จัดส่งเอง
ใช้บริการขนส่ง
Decentralization System
Depot
Stock list
Concessionaire
Regional Distribution Center

เป้าหมายของการจัดส่ง
ส่งรวดเร็วตามกำหนด
ของอยู่ในสภาพดี
ตรงตามความต้องการของลูกค้า
บริการดี มารยาทดีกับลูกค้า
ค่าใช้จ่ายเหมาะสม

วิธีคัดเลือกบุคลากร
บุคลิกภาพ มนุษยสัมพันธ์
ร่างกายแข็งแรง
อดทนต่ออารมณ์ของลูกค้าได้
มีไหวพริบดี
ซื่อสัตย์
มีความรับผิดชอบ

การฝึกอบรม
เทคนิคในการติดต่อลูกค้า
ความรู้เรื่องสินค้า
การขับรถ
การดูแลรถ

ปัจจัยการคำนวณค่าขนส่ง
ระยะทาง
จำนวน SKU ของสินค้า
น้ำหนักสินค้า
ปริมาตรสินค้า
ราคาสินค้า
จำนวนจุดที่วิ่งไปในแต่ละเที่ยว
ช่วงเวลาปฏิบัติงาน
ราคาน้ำมัน
อายุของรถบรรทุก
เปรียบเทียบค่าขนส่งกับบริษัทขนส่ง

เอกสารประกอบการจัดส่ง
ใบสั่งซื้อ
ใบเสนอราคา
อินวอยซ์
แผนที่ลูกค้า

เทคนิคในการจัดส่งสินค้าให้ทันตามกำหนด
ตรวจสอบเอกสาร
การจัดสินค้า
รอรถเพื่อขึ้นของ
การขึ้นของ
ระหว่างเส้นทางส่งของ
การรับของ

KPI ของการจัดส่ง
จำนวนอินวอยซ์ที่ต้องส่งของในแต่ละวัน
ระยะเวลาในการจัดสินค้า
ส่งตามเวลาที่ลูกค้ากำหนด
จำนวนลูกค้าที่จัดส่ง
จำนวนรายการในใบส่งสินค้า
จำนวนสินค้าที่ส่งในเขต นอกเขต
จำนวนการรับคืนสินค้า

แนวทางการประหยัดค่าใช้จ่าย
จัดส่งตามเส้นทาง ไม่ทับซ้อน
Full container load
Load ของรวดเร็ว เป็นระเบียบ
การ Packing อย่างชำนาญ
Recycle Packing Material
เลือกรถให้เหมาะสม
ใช้อุปกรณ์ช่วยอำนวยความสะดวก

แบบฟอร์มและรายงาน
แบบฟอร์มรายการตรวจสอบสภาพรถก่อนใช้ทุกวัน
รายงานการทำงานประจำวัน จำนวนงาน จำนวนเงิน เวลาเข้า ออก
รายการส่งของที่มีปัญหา
ระยะเวลาส่งของของแต่ละอินวอยซ์
ค่าใช้จ่ายเปรียบเทียบกับยอดขาย
ตรวจสอบเทียบกับงบประมาณ

ข้อร้องเรียนจากลูกค้าและฝ่ายขาย
จัดส่งล่าช้า
ส่งของไม่ครบจำนวน ขาด หาย
จัดส่งไม่ถูกต้อง สลับร้านค้ากัน
สินค้าเสียหาย
ส่งของไม่ตรงออเดอร์
ไม่ได้รับของ สินค้าสูญหาย
ลูกค้าปฏิเสธลายเซ็นต์รับของ

ข้อร้องเรียนจากฝ่ายบัญชี
บิลหาย ส่งคืนไม่ครบ
ใบเซ็นรับส่งคืนไม่ครบ
ส่งเงินคืนไม่ครบ
สินค้าหาย
ของคืนกลับไม่ครบ

การดำเนินการเมื่อมีข้อร้องเรียน
ใครรับผิดชอบ
การแก้ไข
รับฟังปัญหาอย่างใจเย็น
สอบสวน
พิสูจน์
ชี้แจง
ชดใช้
เรียกร้องค่าเสียหายต่อจาก Supplier บริษัทขนส่ง หรือผู้เกี่ยวข้อง
หาทางป้องกัน

การตรวจเช็คของ
ก่อนรับมอบ
ก่อนส่งมอบให้ลูกค้า

อาจารย์เพ็ญแข ลิ่มสุวรรณโรจน์

8 วิธีกระตุ้นพัฒนาการสมองลูกรัก

ช่วงแรกเกิดถึง 6 ปี เป็นช่วงที่สมองมีอัตราการพัฒนาจุดเชื่อมต่อของใยประสาทเป็นโครงข่ายเชื่อมโยงกันเพื่อให้สมองแต่ละส่วนทำงานประสานกันได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

สำหรับวิธีที่ฝึกสมองของลูกนั้นมีอะไรบ้างไปดูกัน

  1. สารอาหารที่เหมาะสมและเพียงพอ
    สารอาหารที่สำคัญได้แก่ ไอโอดีนที่พบในอาหารทะเล ธาตุเหล็กในเนื้อแดง ตับ ไข่ ไขมันจากปลาทะเล โประตีนจากเนื้อสัตว์ ไข่
    วิตามินและแร่ธาตุในผักและผลไม้สด เป็นต้น
  2. นอนหลับให้เพียงพอและมีคุณภาพ
    ทารกนอน 13-17 ชั่วโมง
    เด็กอายุ 1-5 ปี นอน 11-14 ชั่วโมง
    หลัง 5 ปีส่วนใหญ่จะไม่นอนกลางวันแล้ว
    ควรงดใช้หน้าจอมือถือ แท็ปเบลต ทีวี ก่อนนอน 1-2ชั่วโมง เพื่อการนอนหลับพักผ่อนอย่างเต็มที่
  3. การเล่นที่เหมาะสมตามวัย
    ช่วยให้เด็กผ่อนคลายและเปิดโอกาสในการเรียนรู้ทุกๆด้าน
    ควรส่งเสริมให้เด็กได้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการ กล้าคิด กล้าทำ ลองผิด ลองถูก
    เพิ่มความจำ สมาธิ และฝึกความอดทนในการพยายามแก้ปัญหา
  4. การเล่านิทาน
    เปิดโอกาสให้ลูกได้ตั้งคำถาม พูดโต้ตอบ แสดงความคิดเห็น เพื่อเด็กจะได้พัฒนาด้านจินตนาการ
    เลือกใช้ภาษาในการแสดงอารมณ์ความรู้สึก การลำดับเหตุการณ์
    อีกทั้งเนื้อหาในนิทานยังสอนเรื่องคุณธรรมจริยธรรม การมีน้ำใจ ระเบียบวินัย และวิธีการแก้ไชปํญหา เป็นต้น
  5. สมองดีดนตรีช่วยได้
    จังหวะและเสียงดนตรีช่วยพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ เพิ่มทักษะความจำ
    ทั้งเนื้อร้อง ทำนอง จังหวะดนตีของแต่ละเพลง
  6. ออกกำลังการสม่ำเสมอ
    เด็กๆควรได้เคลื่อนไหวออกกำลังกายกลางแจ้งทุกวัน
    ช่วยให้นอนหลับสบาย กระตุ้นความอยากอาหาร
    กระตุ้นการทำงานของสมองทั่งสองซีกให้เชื่อมโยงกัน
    เมื่อเข้าสู่วัยเรียนควรได้เล่นกีฬาที่มีการแข่งขัน กติกา
    ให้เด็กรู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภ้ย เพื่อพัฒนาด้านการควบคุมอารมณ์
    การการสร้างสัมพันธภาพทางสังคมต่อไป
  7. สิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย
    ด้านกายภาพ ระวังการหกล้ม ตกจากที่สูง สิ่งของหนักล้มทับ
    การจมน้ำ การเดินทาง ป้องกันภัยจากโรคระบาด โควิด
    สุขอนามัย ล้างมือ หน้ากากอนามัย หลีกเลี่ยงที่ชุมชนคนเยอะๆ
  8. การเลี้ยงลูกเชิงบวก
    เลี้ยงลูกในบรรยากาศที่ผ่อนคลายและมีความสุข ด้วยความรักความผูกพันธ์กับผู้เลี้ยงดู
    เกิดความมั่นคงทางอารมณ์ เห็นตนเองมีคุณค่าและเห็นคุณค่าของผู้อื่นด้วย
    พ่อแม่ควรเป็นแบบอย่างไม่ใช้ความรุนแรง เห็นอกเห็นใจ ให้กำลังใจ ให้อภัยกัน

รศ.พญ.ทิพวรรณ หรรษคุณาชัย
BRAND’S Health Partner Magazine